วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ข้อสอบเรื่องพันธะเคมี

1. การที่โลหะรวมตัวกับอโลหะ แล้วโลหะจะให้อิเล็กตรอนแก่อโลหะ เกิดไอออนบวกและลบดึงดูดกันด้วยแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตสร้างพันธะไอออนิกขึ้นในสารประกอบนั้นเพราะเหตุใด
โลหะมีขนาดอะตอมเล็กกว่าอโลหะ อโลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าโลหะ โลหะมีค่า IE ต่ำ จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนต์อิเล็กตรอนแบบ โลหะมีค่า IE สูง จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนต์อิเล็กตรอนแบบ
2. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
     1. สารประกอบไอออนิกนำไฟฟ้าได้ แต่สารประกอบโคเวเลนต์ไม่นำไฟฟ้า
     2. ธาตุหมู่ 1 และหมู่ 2 ทุกธาตุต่างทำปฏิกิริยากับธาตุอโลหะจะเกิดสารประกอบไอออนิก
     3. พันธะไอออนิกเป็นพันธะเคมีที่เกิดจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
    ข้อใดถูกต้อง
ข้อ 2 และ ข้อ 3 ข้อ 1 และ ข้อ 3 ข้อ 1 , 2 และ 3 ข้อ 3

3. ข้อพิสูจน์ใดที่แสดงว่าผลึกโซเดียมคลอไรด์เป็นสารประกอบไอออนิก
เมื่อนำผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำ สารละลายที่ได้มีจุดเยือกแข็งลดลง โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนำไฟฟ้าได้ โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำแล้วคายพลังงานได้ โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำนำไฟฟ้าได้

4. จงพิจารณาข้อความใดถูกต้อง
ในการเกิดสารประกอบอะตอมของธาตุจะรวมกัน ให้มีเวเลนต์อิเล็กตรอน พันธะโคเวเลนต์ จะเกิดแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสของอะตอมคู่สร้างพันธะ เมื่ออะตอมรวมกันเป็นโมเลกุลจะมีการคายพลังงานจึงทำให้ระบบมีพลังงาน อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะโคเวเลนต์ ได้มาจากอะตอมคู่ที่สร้างพันธะต่อกัน

5. ข้อใดคือแรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล

แรงลอนดอน แรงแวนเดอวาลส์ ไอออนิก พันธะไฮโดรเจน

6. สารประกอบโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่ายไม่นำไฟฟ้า ยกเว้นแกรไฟต์นำไฟฟ้าได้เป็นเพราะเหตุใด

คาร์บอนอะตอมในแต่ละชั้นอยู่ห่างกันมาก ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ คาร์บอนอะตอมในชั้นเดียวกันยึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์อะตอมละ 3 พันธะ คาร์บอนอะตอมในแกรไฟต์ยึดกันไม่แข็งแรงเท่าเพชร จึงทำให้นำไฟฟ้าได้ คาร์บอนอะตอมทุกอะตอมในแกรไฟต์จะยึดกับคาร์บอนอื่นๆอีกสามอะตอม

7. การที่โลหะนำไฟฟ้าได้ สามารถอธิบายได้โดยใช้สมบัติของโลหะข้อใด
อิเล็กตรอนของโลหะจะเคลื่อนที่จากส่วนที่มีพลังงานสูงไปยังส่วน ภายในโลหะมีกลุ่มไอออนบวกที่จัดตัวกันอย่างมีระเบียบด้วยโครงสร้าง กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระมีปฏิกิริยาต่อแสงจึงทำให้สามารถ ไอออนบวกที่อยู่กับที่ในก้อนโลหะส่งแรงดึงดูดกับอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ไป

8. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
     1. การทำให้น้ำกลายเป็นไอเป็นการทำลายแรงแวนเดอร์วาลส์และพันธะไฮโดรเจน
     2. การทำให้ CuCl กลายเป็นไอ เป็นการทำลายพันธะไอออนิก
     3. การทำให้ Cu กลายเป็นไอ เป็นการทำลายพันธะโลหะ
ข้อความที่ถูกต้องคือ
1 และ 2 1 และ 3 2 และ 3 1 , 2 และ 3

9. พันธะไอออนิกควรเกิดกับธาตุคู่ใด
ธาตุที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีใกล้เคียงกัน ธาตุที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีเท่ากัน ธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชันต่างกันมาก ธาตุที่อยู่บนและส่วนล่างทางขวาของตารางธาตุ

10. สารประกอบคลอไรด์ของธาตุมีเลขอะตอมใดต่อไปนี้มีลักษณะเป็นไอออนิกมากที่สุด

20 25 35 55

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น